Manusya, Journal of Humanities (MANUSYA)
MANUSYA: Journal of Humanities is sponsored by Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand. It is an open access journal published with a double-blind peer review system. The main objective is to provide an intellectual platform for researchers in the field of humanities to publish their research articles on various issues in history, philosophy, language, literature, music, dance, dramatic art, visual art, creative art, and applied art. Our focus is on humanities issues relating to Southeast Asia. However, we also welcome submissions that examine broader phenomena and non-SEA related issues. We publish three issues each year in March, July, and November. Both research articles and book reviews are welcome. For those who want to submit an article, please see the author guidelines in "Submission."
Current Issue
Manusya, Journal of Humanities (MANUSYA)
Volume: 23, Issue: 2 (2020)
|
Varieties of English Accents: A Study of the Degree of Preference and Intelligibility Among Second-Year English Major Students at Maejo University |
|
Daranee Choomthong (ดาราณีชุมทอง), Supaporn Manowong (สุภาพรมโนวงศ์) |
|
Page: 151 - 169 |
|
[Abstract] [PDF]
Thailand is regarded as a country of the expanding circle (EC). The fact that English has become a working language in the asean community makes it vital that Thai stu-dents are aware of the varieties of English. The study examined the perception of Eng-lish majors towards varieties of English pronunciation. Listening tasks spoken by speakers in the expanding circle (EC), the inner circle (IC) and outer circle (OC), were presented to students enrolled in a course on Sound and English Sound System. The students rated accent preference and intelligibility. A semi-structure interview was in-cluded for more in-depth information. The results revealed that the variety of English that was perceived as the most favorable accent by the participants was English spo-ken by speakers from IC. The participants were more aware of varieties of English, es-pecially those spoken by non-native speakers of English. However, English spoken by speakers from the EC was perceived as the most intelligible.(ความหลากหลายของสําาเนียงภาษาอังกฤษ: การศึกษาระดับความชอบและความเข้าใจของนักศึกษาสาขาภาษาอังกฤษ ชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ประเทศไทยจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ (Expanding circle - EC) อีกทั้งประเทศไทยเป็นสมาชิกของประชาคมอาเซียนดังนั้นผู้เรียนชาวไทยจึงควรตระหนักถึงความหลากหลายของสําาเนียงภาษาอังกฤษงานวิจัยนี้ศึกษาทัศนคติความชอบและความสามารถในการเข้าใจความหลากหลายของสําาเนียงภาษาอังกฤษผ่านกิจกรรมเสริมการฟังของผู้ใช้ภาษาอังกฤษที่เป็นเจ้าของภาษาที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก (Inner circle - IC) ผู้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง (Outer circle - OC) และกลุ่มผู้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ (Expanding circle - EC) นักศึกษาประเมินระดับความชอบต่อสําาเนียงภาษาอังกฤษและความเข้าใจตัวบทพูดรวมถึงให้สัมภาษณ์แบบกึ่งทางการเพื่อได้ข้อมูลเชิงลึกผลการวิจัยพบว่าผู้เรียนสาขาภาษาอังกฤษชอบภาษาอังกฤษแบบเจ้าของภาษาที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักมากที่สุด (IC) อีกทั้งผู้เรียนสาขาภาษาอังกฤษเริ่มตระหนักถึงสําาเนียงภาษาอังกฤษแบบต่างๆที่พูดโดยผู้ที่ไม่ใช่เจ้าของภาษามากขึ้นอย่างไรก็ตามผู้เรียนมีความสามารถในการเข้าใจภาษาอังกฤษจากกลุ่มผู้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ (EC) มากที่สุด)
|
|
|
Invented Identity of Thai Monks in Indonesia |
|
Jesada Buaban (เจษฎาบัวบาล) |
|
Page: 170 - 187 |
|
[Abstract] [PDF]
Thai missionary monks are viewed as passive in the new land on the grounds that though they work abroad, they still serve Thai communities rather than adapt Bud-dhism to attract the locals. Missionary work in Indonesia is, however, exceptional. This article questions how Thai monks attracted Chinese followers, who have a different background of beliefs. Ethnographic methodology was conducted in Central Java and Sumatra for three months. It found that in order to negotiate with educated lay reli-gious leaders, Thai monks choose to invent an identity of traditional forest monks who are experts in meditation as found in Northeast Thailand. This special figure cannot be found among the laypeople who are immersed in worldly matters like the family and business. Thus, meditation masters from Thailand are often invited to Indonesia not only to provide meditation guidance but also to invent a new identity of Thai Bud-dhism in Indonesia.(อัตลักษณ์ที่ถูกสร้างใหม่ของพระไทยในอินโดนีเซียพระธรรมทูตไทยมักถูกมองว่าแม้จะทําางานในต่างแดนแต่ก็เน้นพิธีกรรมเพื่อบริการชุมชนไทยมากกว่าจะสามารถใช้หลักธรรมดึงดูดชาวต่างชาติบทความนี้เสนอว่างานธรรมทูตในอินโดนีเซียรอดพ้นจากคําากล่าวหานั้นเพราะสามารถปรับตัวและดึงดูดสมาชิกใหม่ซึ่งเป็นชาวจีนที่มีความเชื่อหลากหลายได้ผู้วิจัยใช้วิธีวิจัยทางชาติพันธุ์วรรณนาเก็บข้อมูลที่ชวาและสุมาตราเป็นเวลาสามเดือนผลการวิจัยพบว่าพื้นที่ทางศาสนาของอินโดนีเซียถูกขับเคลื่อนโดยฆราวาสผู้ซึ่งมีการศึกษาสูงและเก่งในการเทศน์ขณะที่พระธรรมทูตไทยไม่เด่นในด้านนั้นจึงเลือกแข่งขันด้วยการสร้างอัตลักษณ์ใหม่ที่เชื่อมโยงกับพระป่าของไทยโดยการนิมนต์พระป่าไปสอนสมาธิบ่อยครั้งซึ่งเป็นภาพลักษณ์ที่หาไม่ได้ในผู้นําาฆราวาสที่คลุกกับการครองเรือน)
|
|
|
The Impact of Communication Technology and Social Media on Intergenerational Relationships between Older Individuals and Their Adult Children in Bangkok |
|
Marie-Helene Thomas (มารีเอแลนน์โธมัส) |
|
Page: 188 - 204 |
|
[Abstract] [PDF]
Modernisation theory (Cowgill and Holmes 1972) argues that older people in modern societies are less respected and valued as a result of technological innovations. To un-derstand the impact of communication technology and social media on Thai society, this research studies the transformations in communication, interaction and overall connectedness between older people and their adult children. In addition, it examines what elements have shifted due to the introduction and use of the smart phone and its accompanying instant messaging and social media applications such as Line and Face-book. The data demonstrates various positive and negative impacts on the intergen-erational relationship between older parents and their child cohorts. Crucially, count-less examples and arguments from the respondents suggest that the use of these new tools of communication has a very real and demonstrable impact, from providing a space for family members to express their emotions to being the culprit that divides the family unit.(ผลกระทบของเทคโนโลยีการสื่อสารและสื่อสังคมต่อความสัมพันธ์ระหว่างวัยในกรุงเทพมหานครทฤษฎีภาวะทันสมัย (Cowgill and Holmes 1972) กล่าวว่าผู้สูงวัยในสังคมยุคใหม่ได้รับความเคารพนับถือและมีคุณค่าต่อบุตรหลานน้อยลงเนื่องจากนวัตกรรมทางเทคโนโลยีเพื่อทําาความเข้าใจบทบาทของเทคโนโลยีการสื่อสารและสื่อสังคมบทความนี้จึงมุ่งศึกษาการเปลี่ยนรูปของการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์และความความเชื่อมโยงระหว่างผู้สูงอายุและผู้ใหญ่ซึ่งเป็นบุตรรวมทั้งศึกษาว่ามีองค์ประกอบใดที่เปลี่ยนไปเนื่องจากการใช้เทคโนโลยีสื่อสังคมเช่นโทรศัพท์สมาร์ทโฟนและแอพพลิเคชั่นประเภทสื่อสังคมเช่นไลน์และเฟซบุ๊กข้อมูลที่ได้จากการสําารวจแสดงถึงผลกระทบทั้งในแง่บวกและลบที่มีต่อความสัมพันธ์ระหว่างคนต่างวัยคือพ่อแม่สูงวัยและผู้ใหญ่ซึ่งเป็นบุตรที่สําาคัญผลการสําารวจพบข้อโต้แย้งจําานวนมากที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างชี้ให้เห็นว่าการใช้เครื่องมือสื่อสารสมัยใหม่นั้นส่งผลกระทบที่เห็นได้ชัดเจนตั้งแต่การที่ทํา าให้สมาชิกในครอบครัวมีพื้นที่แสดงออกถึงอารมณ์ความรู้สึกมากขึ้นไปจนถึงการเป็นเหตุให้ครอบครัวแตกแยก)
|
|
|
Central Thai Food Culture and Acculturation During World War ii and the Vietnam War |
|
Ratiwan Watanasin (รติวัลย์วัฒนสิน) |
|
Page: 205 - 223 |
|
[Abstract] [PDF]
As food has a substantial cultural and economic value, globalization and the Internet have posed challenges to traditional culture. As previous research on Thai food has focused on recipes and the consumption behavior of the royal family and upper-class Thai citizens, this study therefore aims to investigate the Thai food culture of ordinary Thais before the proliferation of a foreign food culture. Senior citizens from diverse socio-economic backgrounds in central Thailand who witnessed two major cultural encounters, specifically World War ii and the Vietnam War, were interviewed until full data was obtained. Content analysis within the guidelines of consumer behavior anal-ysis was conducted. The findings confirm that central food culture has been passed down over generations and has become firmly established. Unless there has been con-venient access to provincial centers, then, food from other regions has seldom been consumed. Also, before globalization, acculturation with foreign foods was barely no-ticeable. Overall, a key driver of this acculturation was so-called "food availability".(วัฒนธรรมอาหารไทยภาคกลางและการยอมรับวัฒนธรรมอาหารต่างชาติ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 และสงครามเวียดนามเนื่องจากอาหารมีคุณค่าทางวัฒนธรรมและทางเศรษฐกิจสูงมากโลกาภิวัตน์และอินเตอร์เน็ตจึงก่อให้เกิดความท้าทายต่อการเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมดั้งเดิมงานวิจัยที่ผ่านมามุ่งเน้นการศึกษาตําารับอาหารและพฤติกรรมการบริโภคของราชวงศ์และชนชั้นนําาของประเทศดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงมุ่งที่จะค้นหาวัฒนธรรมอาหารของคนไทยทั่วไปก่อนการแพร่หลายของวัฒนธรรมอาหารต่างชาติโดยการสัมภาษณ์ผู้สูงอายุที่มีสถานะทางสังคมเศรษฐกิจแตกต่างกันในภาคกลางจนได้รับข้อมูลครบถ้วนและวิเคราะห์เนื้อหาตามแนวทางของการวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคผลการวิจัยยืนยันว่าวัฒนธรรมอาหารไทยสืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่นและหยั่งรากลึกในวัฒนธรรมไทยถ้าการเดินทางไปถึงศูนย์กลางของเมืองหรือจังหวัดไม่สะดวกโอกาสในการบริโภคอาหารจากต่างถิ่นจะมีน้อยมากก่อนยุคโลกาภิวัตน์การยอมรับอาหารต่างชาติแทบจะไม่สามารถสังเกตเห็นได้สิ่งสําาคัญที่ส่งผลต่อการยอมรับวัฒนธรรมอาหารต่างชาติคือการมีวางขายทั่วไป)
|
|
|
Friedrich Halm's Earliest Extant, Melodramatic Novelle, St. Sylvesterabend: An Austrian Dramatist's Hidden Beginnings as a Narrative Fiction Writer |
|
Tony Page (โทนี่เพจ) |
|
Page: 224 - 252 |
|
[Abstract] [PDF]
To date there has been no scholarly exploration of the genesis and nature of Friedrich Halm's earliest extant Novelle, St. Sylvesterabend (New Year's Eve). The present research article attempts to fill that gap by determining the contested date of the story's origin, establishing it as 1823. Furthermore, the article examines the tale's simplicity of style, which is distinct from Halm's later Kleist-influenced narratives. Furthermore, it ana-lyzes the novel's structural principle of parallels and contrasts, and its themes of monomania, secularised religiosity, and Christian caritas. The article also indicates how vicious criticism of the tale by Halm's literary mentor, Michael Enk von der Burg, lacerated the young Halm's self-confidence as a Novelle writer and crippled his novel-istic creativity for decades to come.(เรื่องสั้นประโลมโลกที่เก่าที่สุดและยังหลงเหลืออยู่ของ Friedrich Halm: จุดเริ่มต้นที่ถูกปกปิดของนักเขียนบทละครชาวออสเตรียในฐานะนักเขียนเรื่องอ่านเล่นเนื่องจากปัจจุบันยังขาดการค้นคว้าทางวิชาการเกี่ยวกับต้นกํา าเนิดและคุณลักษณะของนวนิยายขนาดสั้นที่เก่าแก่ที่สุดซึ่งยังหลงเหลืออยู่ของ Friedrich Halm เรื่องSt. Sylvesterabendบทความวิจัยชิ้นนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเติมเต็มช่องว่างด้วยการสืบค้นวันเวลาที่งานชิ้นนี้ถือกําาเนิดขึ้นซึ่งยังเป็นประเด็นที่ถกเถียงกันอยู่โดยเสนอว่าผลงานดังกล่าวกําาเนิดขึ้นในปี 1823 นอกจากนี้บทความนี้ยังวิเคราะห์รูปแบบการเขียนที่เรียบง่ายของนวนิยายเรื่องนี้ซึ่งเป็นลักษณะที่แตกต่างจากงานเขียนของ Halm ในช่วงหลังที่ได้รับอิทธิพลจาก Kleist รวมถึงวิเคราะห์หลักการเชิงโครงสร้างของความเหมือนและความต่างและวิเคราะห์แก่นเรื่องเกี่ยวกับความหมกมุ่นลุ่มหลงในสิ่งเดียวศาสนาแบบฆราวาสและความรักแบบชาวคริสต์นอกจากนี้บทความยังชี้ให้เห็นว่าคําาวิจารณ์อย่างรุนแรงของ Michael Enk von der Burg ผู้เป็นพี่เลี้ยงทางวรรณกรรมของ Halm ได้ฉีกทึ้งความมั่นใจในการเป็นนักเขียนนวนิยายของ Halm ในวัยหนุ่มและทําาลายความคิดสร้างสรรค์ในการเขียนนวนิยายของเขาในอีกหลายทศวรรษต่อมาอย่างไร)
|
|
|
Analysis of the Khmer Walled Defensive System of Vimayapura (Phimai City, Thailand): Symbolism or Military Effectiveness? |
|
Víctor Lluís Pérez Garcia (บิกตอร์ยูอิสเปเรซการ์เซีย) |
|
Page: 253 - 285 |
|
[Abstract] [PDF]
This article analyses the walled defensive system of the Khmer city centre of Vimaya-pura (modern Phimai, Thailand) to evaluate the theoretical level of military effectivity of both the walls and the moats against potential attackers, considering their technical characteristics and the enemy's weapons. We also study the layout of the urban en-ceinte, the constructive material, the gateways as well as weakness and strengths of the stronghold and the symbolic, monumental and ornamental functions in the overall role of the walls. Based on comparisons with similar cases, as well as in situ observa-tions of the archaeological remains and a bibliographical research, our study reveals that the stonewalls were not designed primarily to resist military attacks. Instead, the army, the moat, and possibly the embankments and/or palisades would have been the first lines of defence of the city.(การวิเคราะห์ระบบกําาแพงเมืองวิมายปุระ (เมืองพิมาย): การแสดงสัญลักษณ์หรือประสิทธิภาพทางการทหารบทความนี้วิเคราะห์ระบบกําาแพงเมืองที่ใจกลางเมืองวิมายปุระ (หรือพิมายในปัจจุบัน) ซึ่งเป็นเมืองในอารยธรรมเขมรเพื่อประเมินประสิทธิภาพทางทหารของกําาแพงและคูเมืองในการป้องกันภัยจากผู้รุกรานรวมถึงพิจารณาลักษณะเฉพาะตัวทางเทคนิคและอาวุธยุทโธปกรณ์ของข้าศึกนอกจากนี้บทความยังได้ศึกษาแผนผังโครงสร้างของกําาแพงเมืองวัสดุที่ใช้ก่อสร้างเส้นทางเข้าออกรวมทั้งจุดอ่อนจุดแข็งของที่มั่นและบทบาทหน้าที่ของกําาแพงโดยรวมในเชิงสัญลักษณ์ในเชิงการเป็นอนุสาวรีย์และในเชิงการเป็นเครื่องประดับตกแต่งซึ่งเมื่อนําาไปเปรียบเทียบกับกรณีศึกษาที่มีลักษณะคล้ายกันประกอบกับการสังเกตภายในแหล่งโบราณสถานและการวิจัยเอกสารพบว่ากําาแพงหินนี้ไม่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อใช้ต่อต้านการโจมตีจากกําาลังทหารฝ่ายข้าศึกเป็นหลักแต่มีกองทัพคูเมืองและอาจจะรวมถึงคันดินหรือรั้วเป็นแนวตั้งรับแนวแรกของเมือง)
|
|
|
A Dominant Global Translation Strategy in Thai Translated Novels: The Translations of Religious Markers in Dan Brown's Thriller Novels |
|
Wiriya Inphen (วิริยะอินทร์เพ็ญ) |
|
Page: 286 - 304 |
|
[Abstract] [PDF]
When translation is considered as an integral part of larger social systems (Even-Zohar 1990), the ways in which translations are produced to serve readers' specificity could be affected. This paper examines whether there is a preference for a specific global trans-lation strategy due to a readership that is specialized in terms of education level. Adopting Venuti's (1995/2008) division of global translation strategies into exoticizing and domesticating translation, it examines the frequency of local translation strate-gies, which are part of a global translation strategy, used in translating English-Thai religious markers in Dan Brown's Angels and Demons, The Da Vinci Code, The Lost Sym-bol, Inferno and Origin. The religious markers cover words/phrases of belief systems in either Eastern or Western culture. The results show that exoticizing translation is a dominant global translation strategy that translation agents, such as translators and editors, use in literary translations of Anglo-American novels.(กลวิธีเด่นของการแปลแบบองค์รวมในนวนิยายแปลของไทย: การแปลตัวบ่งชี้ทางศาสนาในนวนิยายเขย่าขวัญของแดน บราวน์การแปลเป็นส่วนหนึ่งของระบบต่างๆในสังคม (Even-Zohar 1990) ดังนั้นการที่ผู้อ่านมีคุณลักษณะเฉพาะเจาะจงย่อมส่งผลต่องานแปลในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยต้องการศึกษากลวิธีที่เป็นที่นิยมของการแปลแบบองค์รวม (global translation strategy) ในการแปลวรรณกรรมที่มุ่งสนองผู้อ่านที่มีการศึกษาการวิจัยได้ใช้แนวคิดการแปลแบบองค์รวมของ Venuti (1995/2008) ที่แบ่งการแปลเป็นสองประเภทคือการแปลโดยคงความเป็นต่างประเทศ (exoticizing translation) และการแปลตามภาษาเป้าหมาย (domesticating translation) เป็นแนวคิดเพื่อนับความถี่ของกลวิธีการแปลในระดับเฉพาะ (local translation strategy) ที่ใช้ในการแปลตัวบ่งชี้ทางศาสนาในภาษาอังกฤษและไทยของนวนิยายเรื่องเทวากับซาตาน (Angels and Demons) รหัสลับดาวินชี (The Da Vinci Code) สาส์นลับที่สาบสูญ (The Lost Symbol) สู่นรกภูมิ (Inferno) และออริจิน(Origin) ของแดนบราวน์ (Dan Brown) ตัวบ่งชี้ทางศาสนาหมายถึงคําาหรือวลีที่เกี่ยวกับศาสนาและ/หรือระบบความเชื่อในวัฒนธรรมตะวันตกและตะวันออกเมื่อพิจารณาเรื่องคุณลักษณะเฉพาะของผู้อ่านชาวไทยแล้วผลวิจัยแสดงให้เห็นว่าบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการแปลไม่ว่าจะเป็นผู้แปลหรือบรรณาธิการต่างนิยมใช้การแปลแบบต่างประเทศเป็นหลักในการแปลวรรณกรรมอังกฤษอเมริกัน)
|
|